ANNUAL REPORT REIC 2019

005 R e a l E s t a t e I n f o r m a t i o n C e n t e r ( R E I C ) ธนาคารอาคารสงเคราะห์ เป็นผู้ริเริ่มโครงการศึกษาการจัดตั้ง ศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์แห่งชาติ และต่อมา ได้มีการลงนาม บันทึกความเข้าใจ (MOU) ระหว่าง ธอส. กับ Urban Redevelopment Authority (URA) ของสิงคโปร์ ในเดือน กุมภาพันธ์ 2545 เพื่อการช่วยเหลือทางเทคนิคแก่โครงการ ศูนย์ข้อมูลฯ ขณะเดียวกันในปี 2546 กลุ่มผู้ประกอบการ อสังหาริมทรัพย์นำ �เสนอให้มีการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ แห่งชาติขึ้น พร้อมกับเสนอขอให้มีการจัดทำ � Housing Indicators ถึงนายกรัฐมนตรีอีกด้วย คณะกรรมการ ธอส. ได้มีมติในวันที่ 17 มิถุนายน 2547 ให้เสนอขอจัดตั้ง “ศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์” เป็นหน่วยงาน อิสระในสังกัด ธอส. โดยอยู่ภายใต้การกำ �กับดูแลของ คณะกรรมการศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ และ ธอส. ได้มี บันทึกข้อความเสนอกระทรวงการคลัง เรื่องข้อพิจารณา เสนอขออนุมัติในหลักการเรื่องศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ เพื่อเสนอต่อคณะรัฐมนตรีขอความเห็นชอบจัดตั้งศูนย์ข้อมูล อสังหาริมทรัพย์ ในวันที่ 17 สิงหาคม 2547 คณะรัฐมนตรีมีมติตามที่ กระทรวงการคลังเสนอ (1) เห็นชอบในหลักการให้จัดตั้ง ศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ (2) เห็นชอบให้จัดตั้งคณะกรรมการ ศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ และ (3) เห็นชอบให้ใช้จ่ายเงิน งบประมาณของธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) เพื่อเป็น ค่าใช้จ่ายในการดำ �เนินงานของศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ “ศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์” ได้เริ่มดำ �เนินงานอย่าง เป็นทางการเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2547 โดยมีภารกิจหลัก ใน 5 ด้าน คือ (1) เป็นศูนย์กลางรวบรวมและพัฒนาข้อมูล อสังหาริมทรัพย์ ตลอดจนข้อมูลประกอบด้านอื่น ๆ (2) สำ �รวจ วิจัยและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อประเมินสถานการณ์และแนวโน้ม ตลาดอสังหาริมทรัพย์ (3) พยากรณ์อุปสงค์ อุปทาน และราคา อสังหาริมทรัพย์ (4) เผยแพร่และให้บริการข้อมูลข่าวสาร เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ และ (5) ให้บริการปรึกษาและพัฒนา ความรู้เกี่ยวกับข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ นับเป็นเวลากว่า 13 ปี ศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ได้ดำ �เนิน ตามภารกิจที่ได้รับมอบหมายจากรัฐบาลอย่างสมบูรณ์ โดยศูนย์ข้อมูลฯ ได้พัฒนาระบบฐานข้อมูล บทวิเคราะห์ ดัชนีต่าง ๆ รวมถึงการพยากรณ์ทิศทางตลาดอสังหาริมทรัพย์ ในปัจจุบันศูนย์ข้อมูลฯ ได้รับการยอมรับและได้รับความ เชื่อถือจากหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน และข้อมูล และการวิเคราะห์ด้านอสังหาริมทรัพย์หลักได้ถูกนำ �ไปใช้อย่าง แพร่หลายเพื่อการวางนโยบายด้านที่อยู่อาศัย และการวางแผน ด้านธุรกิจและการลงทุนนอกจากนี้สถาบันการศึกษา สื่อมวลชน และประชาชนทั่วไปใช้ข้อมูลต่าง ๆ ของศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ เพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้เรื่องอสังหาริมทรัพย์ด้วยเช่นกัน 1. To be a central repository that collects accurate, reliable and up - to - date real estate data and other pertinent information. 2. To serve as a real estate information provider to the Ministry of Finance and government agencies which are responsible for determining the country’s economic policy, as well as providing information to the private sector and general public. 3. To gather data on seven types of real estates : residential, office buildings, shopping centers, hotels & resorts, industrial property, golf courses and land plots from both government and private agencies and communicate market supply and demand including financial sector and industry environment and sentiment to the public and private sectors. REIC officially began operating on August 25, 2004 on the 18 th floor of Building 2, Government Housing Bank Head Office. Initially, the REIC’s main mission focused on gathering and developing information on seven types of real estates, including residential, offices, retail, hotels & resorts, industrial land, golf courses and vacant land. Until now, the REIC has been collecting, gathering and processing data by obtaining information from primary sources gathered by some government agencies. REIC processes the data and communicates the information (from 77 data items) through its surveys, studies and research reports via its main website at www.reic.or.th and other channels. Its database is important to the country’s economy. It should be supported by all government and sectors.

RkJQdWJsaXNoZXIy ODEyMzQ3